มีวิธีกำจัดหอยเชอรี่ แบบง่ายๆมาฝากอ่านแล้วชอบอยากให้เพื่อนอ่าน

หมวดหมู่ของบล็อก: 


หอยเชอรี่ เปลือกมีสีอ่อนกว่าตัวโตกว่า หอยเชอรี่ เจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว หอยตัวเต็มวัยอายุเพียง ผสมพันธ์ุได้ตลอดเวลา หลังจากการผสมพันธ์ุได้

 

มีลักษณะคล้ายหอยโข่ง แต่3 เดือน จะจับคู่1-2กลางคืนบริเวณที่แห้งเหนือน้ำ เช่นต้นหญ้าริมน้ำ โคนต้นไม้ ริมน้ำข้างๆ คันนา และตามต้นข้าวในนาเป็นกลุ่มยาววัน ตัวเมียจะวางไข่ โดยจะวางไข่ในเวลาตามกิ่งไม้ไข่หอยเชอรี่มีสีชมพูเกาะติดกัน2-3 นิ้ว กลุ่มละประมาณ 300-3,000ฟอง เป็นตัวหอยภายในสามารถวางไข่ได้ตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูฝนจะวางไข่ได้ถึง7-12 วัน แม่หอย10-14 ครั้งต่อเดือนลักษณะการทำลายหอยเชอรี่กินพืชทุกชนิดที่มีลักษณะอ่อนนิ่ม เช่นสาหร่าย ผักบุ้ง ผักกระเฉด แหน ต้นกล้าข้าว ซากพืชน้ำและซากสัตว์เน่าเปื่อยในน้ำกล้าและที่ปักดำใหม่ๆ ไปจนถึงระยะ แตกกอเต็มที่ โดยจะกัดกินลำต้นข้าวใต้น้ำ ผิวน้ำเหนือพื้นดิน  ต้นข้าวถูกกัดขาดก็จะกินส่วนใบที่ลอยน้ำต่อไปจนหมดต้นโดยเฉพาะต้นข้าวในระยะ0.5-1 นิ้ว เมื่อการป้องกันกำจัดหอยเชอรี่เป็นสัตว์ศัตรูข้าวที่สำคัญมาก นอกจากจะขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังสามารถทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี โดยจะหมกตัวมีชีวิตอยู่ในพื้นนาได้นานตลอดฤดูแล้ง และยังลอยตัวไปตามน้ำไหลได้อีกด้วย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องป้องกันกำจัดอย่างต่อเนื่องโดยใช้หลายๆ วิธีผสมผสานกัน www.ldd.go.th ดินมีปัญหา ปรึกษา หมอดินอาสาหมู่บ้าน-ตำบล ที่ใกล้บ้าน


วิธีการจัดการหอยเชอรี่


-

การจับหอยเชอรี่ และไข่หอยเชอรี่มาหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์น้ำหมักสามารถทำได้โดยการนำหอยเชอรี่มา 30กก. กากน้ำตาล 10 กก. ผลไม้ 10 กก. น้ำ 10 ลิตร และสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 1 ซอง (หรือสัดส่วน 3:1:1:1) หมัก21 วัน จะได้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ 50 ลิตร ปุ๋ยอินทรีย์น้ำจากหอยเชอรี่ จะมีปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง

(

จากการ วิเคราะห์ในห้องปฎิบัติการ) โดยประมาณดังนี้

มีไนโตรเจน

0.35% ฟอสฟอรัส 0.25% โพแทสเซียม 0.85%แคลเซียม 1.65% แมกนีเซียม 0.29% กำมะถัน 0.15%มีจุลธาตุเหล็ก 171 ppm แมงกานีส 126 ppm ทองแดง140 ppm สังกะสี 180 ppm มีฮอร์โมนออกซิน 6.85มิลลิกรัมต่อลิตร จิบเบอเรลลิน 37.14 มิลลิกรัมต่อ ลิตรไซโตไคนิน 13.62 มิลลิกรัมต่อลิตร และกรดฮิวมิก 3.07%

การนำปุ๋ยอินทรีย์ หอยเชอรี่ไปใช้ประโยชน์ ต้องเจือจางด้วยน้ำเมื่อใช้กับข้าว พืชไร่และไม้ผล

ไม้ดอก

1:500 พืชผักและ1:1,000 ส่วน วิธีการใช้ฉีดพ่นหรือราดรดลงดินวิธีการจัดการหอยเชอรี่อีกอย่าง ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน อ.อินทบุร.สิงห์บุรี คือ ใช้ปูนขาว 5 กก. ละลายน้ำ 100 ลิตร คนให้1 คืน นำน้ำปูนใส 2 ลิตร ผสมน้ำ 10 ลิตร  สาดให้ทั่วแปลงนาที่มีน้ำลึกประมาณ 10 ซม. ความเป็น

 

 

ของชาวบ้านจาก

เข้ากันทิ้งไว้

ด่างของปูนขาวจะทำให้หอยเชอรี่ตายหรือหนีไป แถมยัง ช่วยลดความเป็นกรดจัดของดินได้อีกด้วย หรือถ้าแปลงนา

 


เป็นแอ่งน้ำขัง เวลาหว่านข้าว ปลูก หอยเชอรี่จะมารวมอยู่ บริเวณน้ำ ถ้านำกิ่งสะเดามา วางให้ใบเน่าอยู่ในแอ่งน้ำ หรือ

ใช้มะละกอสุกบดพอแหลกแช่ในน้ำหมักชีวภาพ

2-6  ชั่วโมง นำไปหว่านในนาช่วงทำเทือก ระดับน้ำประมาณ 10 ซม.หอยเชอรี่จะหนีไปจนหมด อีกวิธีในการกำจัดและขับไล่หอยเชอรี่  คือ ใช้ผลก้าน ใบสะเดาบด 20 กก. ใส่น้ำ 20 ลิตร เคี่ยวไฟกลางให้เหลือ 10 ลิตร ผสมกับใบขี้เหล็ก เถาบอระเพ็ด ใบยูคา1 กก. ผสมน้ำ 20 ลิตร เคี่ยวไฟกลางให้เหลือ 10 ลิตร กรองเอาแต่น้ำ จากนั้นใช้น้ำสมุนไพรนี้ 10 ส่วน ผสมกากน้ำตาล 1 อันตราย ต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในน้ำ

 

 

 

ลิปตัส หัวข่าแก่ อย่างละ

ส่วน ใส่จุลินทรีย์เล็กน้อยหมัก ไว้ 2-3 วันเป็นหัวเชื้อวิธีใช้ ใช้หัวเชื้อ 100 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร สาดใส่พื้นนาบางๆ ช่วงทำเทือกระดับน้ำลึกประมาณ 10 ซม .ในที่นี้ไม่แนะนำให้ใช้ โดยเฉพาะห้ามใช้เอ็นโดซัลแฟนในนาข้าวเพราะเป็น

ส่วนวิธีการใช้สารเคมี 

 

ความเห็น

ใช้วิธีนี้ด้วยได้ไหมคะ...หอยทากมายมากเลย

ชีวืตที่เพียงพอ..

เหมือนกับสาวน้อยเลยล่ะ อยากกำจัดหอยทากมากเลย ปัญหาใหญ่

แผ่นดินไหนก็ไม่มีความสุขเหมือนแผ่นดินเกิด อยากกลับบ้านจัง

ทดสอบ