ใครเคยเป็นบ้าง? ภาวะหนังตกหย่อนจนผิดปกติ แถมยังรบกวนชีวิตประจำวัน ทำให้เปลือกตาไม่สามารถเปิดได้เต็มที่ กวนใจจนต้องไปเสริ์ชว่ากล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหมกันเลยทีเดียว
เชื่อเลยนะว่าคนในปัจจุบันจะต้องเจอกับปัญหานี้กันค่อนข้างมาก แถมยังมีผลต่อการมองเห็น และการใช้ชีวิตประจำวันไม่น้อยเลยทีเดียว ซึ่งสาเหตุหลัก ๆ เนี่ย ก็อาจจะเป็นเพราะเราอยู่ในยุคของดิจิทัล ไม่ว่าอะไรก็ต้องจดจ่อ จดจ้องไปกับหน้าจอและรับแสงสีฟ้า หรือนี่อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เราต้องเจอกับปัญหาเปลือกตาออ่อนแรง งั้นลองมาดูกันดีกว่าว่าที่คิดนั้นจริงหรือเปล่า แล้วกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหม?
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหม ค้นพบคำตอบได้ที่นี่
ภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง (Ocular Myasthenia Gravis) นั้น คือสภาพขอเปลือกตาตกหรือหนังตาหย่อนคล้อยที่มากกว่าปกติ ส่งผลให้กล้ามเนื้อตาไม่สามารถยกทำงานได้อย่างเต็มที่ โดยจะมีลักษณะของเปลือกตาบนที่คลุมตาดำจนมากเกินไป ซึ่งถาวะนี้นอกจากจะส่งผลเรื่องความสวยงามแล้ว ยังกระทบต่อการใช้ชีวิต เพราะมันไปบดบังรูม่านตา ทำให้มองเห็นได้อย่างยากลำบาก
แล้วภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหม ทำไมคนเป็นกันเยอะ? ต้องบอกว่าจริง ๆ แล้วมันสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ ทุกวัย และบางรายก็อาจจะเป็นตังแต่กำเนิด โดยจะเกิดกับตาที่มีการใช้งานบ่อย อาจเป็นข้างเดียว หรือเป็นได้ทั้งสองข้าง ซึ่งถ้าเป็นมาก ๆ ก็คงไม่ต้องถามเลยว่ากล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหม แต่รีบไปแก้ไขเลยจะดีที่สุด
แก้ไขภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอย่างไร?
วิธีการแก้ไขกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอันตรายไหม ต้องบอกว่าไม่แน่นอน เพราะทุกขั้นตอนจะอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ โดยเริ่มแรกจะใช้เทคนิคการบริหารกล้ามเนื้อตา กลอกขึ้นบนลงล่าง จากนั้นค่อยกลอกตาไปทางขวาและกลับมาซ้ายอีกครั้ง แต่ในกรณีที่เป็นค่อนข้างเยอะ อาจจะต้องใช้วิธีการผ่าตัดที่แม่นยำ ซึ่งจะแตกต่างจากการผ่าตัดเพื่อเสริมชั้นตาแบบความงามนั่นเอง
ข้อดีของการผ่าตัดกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง
สำหรับการผ่าตัดกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงนั้น จะช่วยเปิดตาดำ ทำให้คุณสามารถกลับมามองเห็นได้ตามปกติ อีกทั้งยังช่วยแก้ไขปัญหาตาขี้เกียจ ตาง่วงนอน ตลอดจนชั้นตาที่ไม่เท่ากันได้อย่างเหมาะสม ที่สำคัญยังช่วยปรับบุคลิกภาพให้ดีขึ้นเป็นอีกเท่าตัว
การเตรียมตัวในการผ่าตัดกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง
-
งดอาหารเสริมทุกชนิด 2 สัปดาห์
-
งดการติดสติ๊กเกอร์ตาสองชั้นอย่างน้อย 1 สัปดาห์
-
งดใส่คอนแทคเลนส์ก่อนผ่าตัด 3 สัปดาห์ จนถึงหลังผ่าตัด 3 สัปดาห์
-
หากมีอาการไอ หรือท้องผูก ควรแจ้งทางคลินิกล่วงหน้าประมาณ 3 วัน
-
แจ้งคุณหมอทราบล่วงหน้า ถึงโรคประจำตัว ประวัติแพ้ยา ประวัติการทำตา ว่าเคยทำตามาก่อนหรือไม่
-
หลีกเลี่ยงศัลยกรรมอื่นๆ ทุกประเภท ประมาณ 1 เดือน หรือการสักคิ้วที่ยังไม่แห้ง ก่อนเข้ารับการผ่าตัด
-
นำบัตรประชาชนมาในวันผ่าตัดด้วย