บิดาแห่งพันธุศาสตร์

หมวดหมู่ของบล็อก: 

 Mendel

 

วันเดือนปีเกิด 20 กรกฎาคม 1822  
Heinzendorf bei Odrau , เอ็มไพร์ออสเตรียปัจจุบัน สาธารณรัฐเช็ก
เสียชีวิต 6 มกราคม 1884  (อายุ 61) 
เบอร์โน , Moravia , ออสเตรียฮังการี
สัญชาติ เอ็มไพร์ของออสเตรียฮังการี
เขตข้อมูล พันธุศาสตร์
สถาบันการศึกษา Abbey ของเซนต์โทมัสใน Brno
โจอี้ จาก University of Olomouc 
มหาวิทยาลัยเวียนนา
หรือเป็นที่รู้จักสำหรับ การค้นพบ พันธุศาสตร์

 เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johan Mendel) บาทหลวงชาวออสเตรีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งพันธุศาสตร์ ได้อธิบาย

ลักษณะบางประการของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏในรุ่นลูก  ซึ่งเป็นผลมาจาก
การถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ ผ่านเซลล์สืบพันธุ์

เมนเดลทำการศึกษาทดลองการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
โดยการผสมพันธุ์ถั่วลันเตาต้นสูงทุกรุ่นกับต้นเตี้ยแคระ  ผลปรากฏว่า
รุ่นลูกหรือรุ่น F1 (first filisl generation) ซึ่งเป็นต้นสูงทุกต้น

เมื่่่อนำเอาเมล็ดที่ได้จากการผสมพันธุ์ในดอกเดียวกันของรุ่น  F1
ไปเพาะเมล็ด  จะได้รุ่นหลานหรือรุ่น F2 (second filial generation) ที่มี
ต้นสูงมากกว่าต้นเตี้ยในอัตราส่วน 3:1

เมนเดลได้อธิบายผลการทดลองว่า  ลักษณะต้นสูงที่ปรากฏในทุก
รุ่นเรียกว่า ลักษณะเด่น (dominant) ส่วนลักษณะต้นเตี้ยที่มีโอกาส
ปรากฏบางรุ่นเรียกว่า ลักษณะด้อย (recessive)

ตามกฎของเมนเด็ลมรดก (หรือตามกฎของเมนเด็ลหรือ Mendelism พันธุศาสตร์) พันธุกรรม จากสิ่งมีชีวิตลักษณะแม่เพื่อลูกหลานของพวกเขาเป็นฐานมากของ พันธุศาสตร์ . พวกเขาได้เริ่มต้นจากการทำงานของ เกรเกอร์โยฮันเมนเดล ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี 1865 และ 1866 ซึ่งเป็น"ค้นพบอีกครั้ง"ในปี 1900 และได้เริ่มแย้งมาก เมื่อพวกเขาถูกรวมเข้ากับ ทฤษฎีโครโมโซมของมรดก โดย โทมัสมอร์แกนล่า ในปี 1915 พวกเขากลายเป็นแกนหลักของพันธุศาสตร์คลาสสิก

ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Gregor_Mendel

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/32/2/genetic/content/gregor.html

 

ขอบคุณบ้านสวนพอเพียง

ความเห็น

วันนี้หน้า กูเกิ้ลเป็นรูปถั่วลันเตา พอเอาเม๊าส์ไปชี้ ดู ก็ ขึ้นว่า เกรเกอร์ เมนเดล

 

 

"ขอบคุณน้ำใจที่แบ่งปัน ขอบคุณบ้านสวนพอเพียง"

อย่างที่น้องฮูกว่า :confused:

"เชื่อในผล แห่งการทำความดี"

ตอนเรียนพันธุศาสตร์ที่เมืองไทย จะต้องเรียนการผสมพันธุ์แมลงหวี่ครับ เอาแมลงหวี่ตาแดงกับตาไม่แดง ปีกงอกับปีกไม่งอมาผสมพันธู์กัน แล้วก็ต้องนับลูกแมลงหวี่ว่าออกมาแล้ว มีหน้าตารูปร่างอย่างไร สนุกดีครับเรียนพันธุศาสตร์ สนุกตรงที่ต้องทำอาหารให้แมลงหวี่กิน เอากล้วยน้ำว้ามากวนครับ

แมลงหวีตัวเล็กนิดเดียว แค่นิ้วจับก็แบนแล้ว ไม่เคยสังเกตุ ว่าแมลงหวีมีตาแดงกับไม่แดงด้วย เคยเห็นแต่พวกแมลงวัน ว่ามี หัวเขียวตัวผู้ ตัวเมียธรรมดา มีทั้งพันธุ์ตัวเล็ก และตัวใหญ่ กัดได้เจ็บก็มี ใครเคยถูกแมลงวันกัดบ้างค่ะ ขอบคุณค่ะ

แมลงหวี่ เป็นแมลงที่สำคัญทางพันธุ์ศาสตร์ ใช้ในการทดลอง ศึกษาวิจัย และใช้ในการเรียนการสอนวิชาพันธุ์ศาสตร์ ใครจบทางด้านนี้แล้วไม่เคยเลี้ยง ไม่เคยผสมพันธุ์แมลงหวี่ คงเป็นเรื่องแปลกน่าดู คุณอารีย์หยิบยกเอาเรื่องนี้มาเล่าแสดงว่าน่าจะจมาทางด้านนี้แน่เลย

เกียวไม่ได้จบทางด้านนี้เลยค่ะ เกียวจบศิลปะ เพียวแต่เห็นว่าเห็นเป็นเรื่องราวของาพันธุศาสตร์ เกี่ยวกับพันะธุ์พืช(และสัตว์) น่าจะเป็นประโยชน์ได้บ้างค่ะ ขอบคุณค่ะ

วิชาการดีจริง ๆ ครับ..เคยเรียนผ่าน ๆ แต่นานมากแล้วครับ...จม ม.3 เรียนต่อสายอาชีพเลยไม่ค่อยจะทราบนะครับขอบคุณสำหรับข้อมูลดี ๆ นะครับ

 

พ่อขยันทำสวน + แม่ขยันทำงานฝีมือ 

F1 =   :love: